วันจันทร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

ครั้งที่ 2

1. หาคำศัพธ์คอมพิวเตอร์ 

แบ่งออกเป็นหัวข้อดังนี้

1.1  คำศัพท์เฉพาะคอมพิวเตอร์(เช่น LCD , CPU ฯลฯ)

A
หมายถึง : ในระบบการทำงานของ MS-DOS และ ของ OS/2 เป็น ช่องดิสก์ไดร้ว์ช่องแรก และใช้เป็นช่องดิกส์ไดร้ว์ สำหรับตรวจการเริ่มต้นคำสั่งการทำงานเป็นครั้งแรก 

abort
หมายถึง : การไม่ทำงานของเครื่องโดยมีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้น 

AC
หมายถึง : 
กระแสไฟฟ้าสลับ เป็นอักษรย่อของคำเต็มว่า alternating current 

access
หมายถึง : 
เข้าถึง, บอกตำแหน่ง, การอ่านหน่วยความจำ,และทำให้พร้อมที่จะนำมาใช้งาน คำว่า access ใช้กับการเข้าสู่แผ่นดิสก์, แฟ้มข้อมูล, ระเบียนและเครือข่ายต่างๆ 

active
หมายถึง : 
เป็นคำ adjective ขยายโปรแกรม , เอกสาร, เครื่องมือต่างๆ หรือส่วนของหน้าจอภาพที่กำลังปฏิบัติงานอยู่ หมายถึงโปรแกรมที่กำลังทำงานอยู่ เอกสารที่กำลังใช้อยู่ หรือเครื่องมือที่กำลังถูกใช้งาน เป็นต้น 

C++
หมายถึง : 
ภาษา C programming language รุ่นใหม่ ซึ่งพัฒนาขึ้นมาโดย Bjarne Strousrup ณ ห้องปฏิบัติการ Bell Laboratories เมื่อต้นปี พ.ศ. 2523 ภาษา C เวอร์ชั่นนี้เป็นที่ยอมรับของนักผลิตโปรแกรมทั้งหลาย เช่น บริษัท Apple Computer และบริษัท Sun Microsystem เป็นต้น 

CAD/CAM
หมายถึง : 
(อ่านว่า แคด/แคม) เป็นคำย่อของคำว่า computer-aided-design/computer-aided-manufacturing หมายถึงการใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ เป็นอุตสาหกรรม เราสามารถใช้ CAD/CAM ผลิตชิ้นส่วนของเครื่องจักร เครื่องยนต์ เป็นต้น 

IEEE
หมายถึง : อ่านว่า ไอทริเพิ่ลอี เป็นคำย่อของคำว่า Institute of Electrical and Electronics Engineers เป็นองค์กรวิชาชีพวิศวกรรมและอีเล็กทรอนิกองค์กรหนึ่ง ซึ่งมีชื่อเสียงในด้านการพัฒนาระดับการเชื่อมโยงข้อมูลในเครือข่าย LAN มาตรฐานที่เรียกว่า IEEE 802 ต่อจากการพัฒนาแบบของ ISO Operating system Interconnection 

ถ้าต้องการเนื้อหาเพิ่ม http://www.kanid.com/comvocabulary.php 


1.2  คำศัพท์ด้านอินเตอร์เน็ต( HTTP , HTTPS ฯลฯ)



ADDRESS
แปลตรงตัวหมายถึงที่อยู่ อาจหมายถึงที่อยู่บนอินเตอร์เน็ต หรือ ที่อยู่ของอีเมล์


AUTHORING TOOL
เครื่องมือใช้ในการสร้างเอกสารจำพวก HTML เพื่อใช้สำหรับเผยแพร่ใน www

BACKBONE
การเชื่อมต่อข้อมูลด้วยความเร็วสูง สามารถเชื่อมต่อกับหลาย ๆ เครือข่าย


BRIDGE
เป็นอุปกรณ์ตัวหนึ่ง ที่ใช้สำหรับส่งต่อข้อมูลระหว่างสองระบบ หรือเครือข่าย ทำหน้าที่ส่งผ่าน package เท่านั้น




alphanumeric characters
ตัวอักขระทั้งหมดที่เป็นได้ทั้งตัวอักษร (a, b, c,…) ตัวเลข (1, 2, 3,...) สัญลักษณ์พิเศษ ช่องว่าง และเครื่องหมายวรรคตอนต่าง ๆ ( #, 4,…)
analog display
ความสามารถของจอแสดงผลที่กระจายสีเป็นช่วงต่อเนื่องตามระดับความเข้มของสีเทาหรือสีทั่วไปต่างจากการแสดงผลแบบดิจิตอล ซึ่งจะกระจายสีได้ในขอบเขตจำกัดทั้งสีเทาหรือสีทั่วไปจอ VGA แสดงผลแบบแอนะล็อก ขณะที่จอ EGA แสดงผลเป็นดิจิตอล
analog-to-digital converter
ใช้คำย่อว่า ADC หรือ A-D converter, อุปกรณ์แปลงสัญญาณแอนะล็อกเป็นดิจิตอล เมื่อสัญญาณแอนะล็อกแปลงเป็นดิจิตอลแล้วจึงส่งมาให้คอมพิวเตอร์ประมวลผล วิเคราะห์ แสดงผล และส่งข้อมูลได้ประเด็นสำคัญของตัวแปลงแอนะล็อกเป็นดิจิตอล คือปริมาณข้อมูลดิจิตอลที่ได้มาจากสัญญาณแอนะล็อก ความถูกต้องของการแปลงสัญญาณนี้ขึ้นกับความถี่ในการสุ่มจับข้อมูลแอนะล็อกแต่ละครั้งและข้อมูลที่เก็บบันทึกไว้แผ่นวงจรเสียงที่ทันสมัยสามารถสุ่มจับข้อมูลและเล่นย้อนกลับได้ที่ความถี่ 44.1 กิโลเฮิรตซ์ โดยใช้ตัวแปลงแอนะล็อกเป็นดิจิตอลขนาด 16 บิต
animation
การใช้คอมพิวเตอร์สร้างภาพเคลื่อนไหวตามภาพที่วาดหรือสร้างไว้การทำให้ภาพเคลื่อนไหวได้ด้วยการแสดงผลภาพชุดหนึ่งที่เร็วมาก ๆจนเรามองเป็นภาพต่อเนื่อง ซึ่งแต่ละภาพจะมีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยแอนิเมชันนี่เองที่เป็นองค์ประกอบสำคัญในเรื่องระบบงานแบบหลายสื่อรวมไปถึงเกมในคอมพิวเตอร์ด้วย เทคนิคที่ใช้ก็คล้ายกับการสร้างภาพยนตร์การ์ตูน
any key
ปุ่มใด ๆบนแป้นพิมพ์ โดยมากมักจะเป็นกลุ่ม Enter หรือแคร่ยาว (Spacebar) โปรแกรมเมอร์มักใช้คำว่า “ ปุ่มใด ๆ any key” เพื่อให้คุณทำงานได้ง่ายเข้า
AMR (Adaptive Multi Rate)
ไฟล์เสียงในมาตรฐานใหม่ที่ได้รับการยอมรับในการนำไปใช้ในอุตสาหกรรมสื่อสารไร้สายยุคใหม่ส่วนมากเราจะเห็นไฟล์เสียงแบบ AMR ในโทรศัพท์มือถือที่รองรับบริการ MMS อยู่ในเครื่อง เพราะไฟล์เสียงแบบ AMR นั้นเป็นหนึ่งในฟอร์แมทไฟล์เสียงที่ใช้กับ MMS หรือเป็นเสียงที่เราบันทึกเองจากโทรศัพท์โดยจะถูกจัดเก็บเป็นไฟล์ฟอร์แมต .amr3G (Third Generation)
การสื่อสารไร้สายยุคที่ 3 นับจากยุคที่ 1 คือยุคแอนะล็อก และยุคที่ 2 คือยุคดิจิทัล ส่วนยุคที่ 3
คือยุคการสื่อสารข้อมูลความเร็วสูง การพัฒนาของ 3G
ทำให้เกิดการใช้บริการมัลติมีเดียและส่งผ่านข้อมูลในระบบไร้สายด้วยอัตราความเร็วที่สูงขึ้น
โดยอุปกรณ์ที่ใช้นั้นเป็นอุปกรณ์ที่ผสมผสานการนำเสนอข้อมูล และเทคโนโลยีในปัจจุบันเข้าด้วยกันเช่น PDA,
โทรศัพท์มือถือ , Walkman , กล้องถ่ายรูป , และอินเทอร์เน็ต

3GPP (3rd Generation Partnership Project)
กลุ่มความร่วมมือระหว่างนักพัฒนาระบบมือถือบนโครงข่าย GSM, GPRS, EDGE, WCDMA เป็นหลักเพื่อกำหนดมาตรฐานกลางในการผลิต และพัฒนาเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ 3G

AAC 
(Advanced Audio Coding)

คือไฟล์เพลงอีกประเภท ที่มีระบบเสียงดีขึ้น เพราะอัดข้อมูลเพลงให้วิ่งในอัตรา 96 กิโลบิตต่อวินาที
ขณะที่ไฟล์ MP3 อัดที่ 128 กิโลบิตต่อวินาที AAC เป็นไฟล์แบบที่แอปเปิลจำหน่ายผ่านร้านไอจูนส์ (iTunes)โดยมีการผนวกเทคโนโลยี DRM เข้าไปในไฟล์ด้วย แอปเปิลเรียกโปรแกรม DRM ว่า FairPlayมีการกำหนดว่าเพลงที่ซื้อเพลงละ 99 เซ็น และอัลบั้มละ 9.95 ดอลลาร์
สามารถเล่นได้บนคอมพิวเตอร์ห้าเครื่อง ที่มี iTunes software และสามารถบันทึกหรือ burned
ลงบนซีดีได้เจ็ดครั้ง แต่ถ้าจะเปิดบนเครื่องเล่นเพลงแบบมือถือ ไฟล์แบบ AACที่ซื้อมาจากเว็บของแอปเปิลนี้เล่นได้แต่บนเครื่อง iPod เท่านั้นส่วนไฟล์เสียงที่เล่นบนมือถือจากทางโนเกียจะเป็นไฟล์เสียงคนละแบบกับของทางแอปเปิลแม้ว่าจะมีเป็นนามสกุลแบบเดียวกันก็ตาม

accessory
อุปกรณ์เสริม, อุปกรณ์ประกอบภายนอกหรืออุปกรณ์เพิ่มเติมสำหรับคอมพิวเตอร์ ซึ่งช่วยทำหน้าที่ต่าง ๆ เช่น
เม้าส์ โมเด็ม เป็นต้น

account
แอกเคานต์, บัญชีผู้ใช้ซึ่งใช้เก็บข้อมูลประจำตัวของผู้ใช้
และเจ้าของบัญชีจะมีสิทธิ์ใช้บริการได้ตามที่กำหนด, บัญชีผู้ใช้อินเตอร์เน็ต
ผู้ดูแลเครื่องจะจัดเตรียมบัญชีให้กับผู้ใช้ระบบ ซึ่งประกอบด้วยชื่อบัญชี (user name) รหัสผ่าน
(password) และเนื้อที่ดิสก์สำหรับใช้เป็นที่เก็บข้อมูล

Acrobat
ฟอร์แมตของเอกสารรูปแบบหนึ่งของบริษัท Adobe เอกสารฟอร์แมตอะโครแบทนี้นิยมใช้ในระบบ WWW  แฟ้มที่เก็บในฟอร์แมตนี้จะมีนามสกุล . pdf 
ผู้ใช้โปรแกรมเบราเซอร์สามารถอ่านเอกสารแบบอะโครแบทได้ด้วยโปรแกรม Adobe Acrobat (ดูที่ Adobe AcrobatReader) 

active matrix
จอแสดงผลแบบ LCD ของเครื่องคอมพิวเตอร์แบบวางตัก ที่ใช้ได้ดีกว่า และแพงกว่าแบบ passive matrix
จอแสดงผลแบบนี้มีทรานซิสเตอร์แยกไปควบคุมจุดต่าง ๆ บนจอภาพเพื่อให้มีคุณสมบัติดังนี้คือ
มีสีตัดกันอย่างเด่นชัด มองภาพในมุมกว้างได้ มีสีชัดเจน เป็นจอภาพที่มีอัตราการแสดงผลซ้ำได้เร็ว
และไม่แสดงผลเป็นเส้น ๆ หรือเงาที่มักเป็นกันในจอภาพที่ใช้เทคโนโลยี LCD ราคาถูก คำนี้มักใช้คำว่า
active matrix screen (ดูที่ passive matrix)

Active Server Page
ใช้คำย่อว่า ASP, เว็บเพจที่บรรจุโค้ดโปรแกรมซึ่งเขียนด้วย VBScript หรือ Jscript พัฒนาโดยไมโครซอฟท์,
เป็นสคริปต์ที่ทำงานอยู่บนเซิร์ฟเวอร์, ASP นั้นมีหัวใจอยู่ที่ออบเจ็กต์ หรือคอมโพเนนต์
ซึ่งมีทั้งออบเจ็กต์มาตรฐานของ IIS (Internet Information Server) ปัจจุบันเริ่มมีการใช้ ASP แทน CGI
เพิ่มขึ้น

active window
ช่องหน้าต่างใช้งาน, ในระบบปฎิบัติการหรือโปรแกรมอื่นๆ ที่แสดงช่องหน้าต่างบนจอภาพได้หลายๆ ช่องพร้อมกัน
มีช่องหน้าต่างบนจอภาพที่ใช้งานอยู่ขณะนั้นคือ

add-on program
โปรแกรมที่ทำงานร่วมหรือช่วยเพิ่มความสามารถให้กับโปรแกรมอื่น

address
แอดเดรส, ตำแหน่งที่อยู่, การอ้างหรือจัดการกับตำแหน่งต่าง ๆ บนอุปกรณ์เก็บข้อมูล,
ตำแหน่งในหน่วยความจำหรือดิสก์ซึ่งมีข้อมูลเก็บอยู่โดยที่หน่วยความจำจะมีตำแหน่งกำกับทุกไบต์
ขณะที่บนดิสก์จะมีตำแหน่งกับกับทุกเซกเตอร์

Address Book
ไฟล์ที่เก็บรวบรวมรายชื่อ อีเมล์แอดเดรสของผู้ที่คุณติดต่ออยู่เสมอ สามารถเพิ่มรายชื่อ
เปลี่ยนแปลงแก้ไขชื่อหรืออีเมล์แอดเดรสใน Address Book ได้
ปัจจุบันมีโปรแกรมอีเมล์หลายตัวที่มีคุณลักษณะนี้ บางโปรแกรมเมื่อคุณพิมพ์ชื่อผู้รับลงในอีเมล์ฉบับใหม่
มันสามารถที่จะปรากฏชื่อและใส่อีเมล์แอดเดรสให้คุณได้ทันที เช่น Outlook Express

admin
ย่อมาจาก administrator, ผู้ดูแลเครือข่าย, ชื่อบัญชีสำหรับผู้ปฏิบัติงาน เป็นผู้ดูแลเครื่อง 

(systemadministrator) 

Adobe Acrobat Reader
ผลิตโดยบริษัท Adobe System เป็นโปรแกรมที่มีเครื่องสำหรับการสร้างและเปิดดูเอกสาร
ซึ่งเอกสารที่สร้างจาก Acrobat จะอยู่ในรูปแบบไฟล์ PDF (Portable Document Format)
เอกสารที่อยู่ในฟอร์แมตนี้ สามารถเปิดอ่านได้จากคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้งโปรแกรม Acrobat Reader
โดยที่เนื้อหา รูปแบบ ตัวอักษร และภาพจะเหมือนกับต้นฉบับ
สามารถส่งผ่านอีเมล์หรือนำเสนอข้อมูลบนเว็บเพจได้เช่นเดียวกับเอกสารทั่วๆ ไป
ทั้งบนระบบปฎิบัติการวินโดว์ แมคอินทอช และยูนิกซ์

ADSL
ย่อมาจาก Asymmetric Digital Subscriber Line, เทคโนโลยีที่ใช้ส่งข้อมูลในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตผ่านสายโทรศัพท์ด้วยความเร็วสูง

Airplane Mode/Flight Mode
โหมดตัดคลื่นสัญญาณที่ใช้ในการสื่อสารทางโทรศัพท์มือถืออัตโนมัติเพื่อไม่ให้ไปรบกวนการทำงานของคลื่นวิทยที่ใช้ในการบิน และระบบนำทางแต่ยังสามารถใช้งานเมนูอื่นๆ ที่ไม่ต้องใช้คลื่นสัญญาณ เช่น ออร์แกนไนเซอร์การเล่นเกมแบบไม่ออนไลน์ได้

alphabet
ตัวอักษร, ชุดของตัวอักษร

alphanumeric characters
ตัวอักขระทั้งหมดที่เป็นได้ทั้งตัวอักษร (a, b, c,…) ตัวเลข (1, 2, 3,...) สัญลักษณ์พิเศษ ช่องว่าง
และเครื่องหมายวรรคตอนต่าง ๆ ( #, 4,…)

amp
ย่อมาจาก AMPerp, หน่วยวัดกระแสไฟฟ้า

analog
แอนะล็อก,
การที่อุปกรณ์ใดก็ตามแสดงค่าที่เปลี่ยนไปตามคุณสมบัติทางกายภาพที่เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องได้ เช่น
แรงดันไฟฟ้าในวงจร แรงดันของการไหล ระดับของเหลว เป็นต้น อุปกรณ์แอนะล็อกจะเก็บค่าต่าง ๆ
ที่อยู่ในช่วงนั้น ตรงข้ามกับอุปกรณ์ดิจิตอลที่จัดการกับค่าตายตัว เช่น เทอร์โมมิเตอร์
ปรอทธรรมดาเป็นอุปกรณ์แอนะล็อก แสดงผลต่อเนื่องตามช่วงของปรอท
ต่างจากเทอร์โมมิเตอร์ดิจิตอลที่จะแสดงอุณหภูมิได้เพียงครั้งละค่าเดียวตามจังหวะเวลาที่วัดค่า (ดูที่
digital)

analog display
ความสามารถของจอแสดงผลที่กระจายสีเป็นช่วงต่อเนื่องตามระดับความเข้มของสีเทาหรือสีทั่วไป
ต่างจากการแสดงผลแบบดิจิตอล ซึ่งจะกระจายสีได้ในขอบเขตจำกัดทั้งสีเทาหรือสีทั่วไป จอ VGA
แสดงผลแบบแอนะล็อก ขณะที่จอ EGA แสดงผลเป็นดิจิตอล

analog network
เครือข่ายแอนะล็อก, วงจรข่ายแอนะล็อก

analog signal
สัญญาณแอนะล็อก, สัญญาณซึ่งมีค่าต่อเนื่องกันโดยตลอด

analog-to-digital converter
ใช้คำย่อว่า ADC หรือ A-D converter, อุปกรณ์แปลงสัญญาณแอนะล็อกเป็นดิจิตอล
เมื่อสัญญาณแอนะล็อกแปลงเป็นดิจิตอลแล้ว จึงส่งมาให้คอมพิวเตอร์ประมวลผล วิเคราะห์ แสดงผล
และส่งข้อมูลได้ ประเด็นสำคัญของตัวแปลงแอนะล็อกเป็นดิจิตอล คือ
ปริมาณข้อมูลดิจิตอลที่ได้มาจากสัญญาณแอนะล็อก ความถูกต้องของการแปลงสัญญาณนี้
ขึ้นกับความถี่ในการสุ่มจับข้อมูลแอนะล็อกแต่ละครั้งและข้อมูลที่เก็บบันทึกไว้
แผ่นวงจรเสียงที่ทันสมัยสามารถสุ่มจับข้อมูลและเล่นย้อนกลับได้ที่ความถี่ 44.1 กิโลเฮิรตซ์
โดยใช้ตัวแปลงแอนะล็อกเป็นดิจิตอลขนาด 16 บิต

animation
การใช้คอมพิวเตอร์สร้างภาพเคลื่อนไหว ตามภาพที่วาดหรือสร้างไว้,
การทำให้ภาพเคลื่อนไหวได้ด้วยการแสดงผลภาพชุดหนึ่งที่เร็วมาก ๆ จนเรามองเป็นภาพต่อเนื่อง
ซึ่งแต่ละภาพจะมีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย
แอนิเมชันนี่เองที่เป็นองค์ประกอบสำคัญในเรื่องระบบงานแบบหลายสื่อ รวมไปถึงเกมในคอมพิวเตอร์ด้วย
เทคนิคที่ใช้ก็คล้ายกับการสร้างภาพยนตร์การ์ตูน

anonymous
ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม, ชื่อบัญชีกลางสำหรับให้ผู้ใช้รายใดก็ได้ เข้าสู่ศูนย์บริการ FTP
เพื่อขอถ่ายโอนแฟ้ม (ดูที่ FTP)

antivirus
โปรแกรมป้องกันไวรัส ซอฟต์แวร์เอื้อประโยชน์ที่ใช้กวาดหาและตรวจจับไวรัสหรือซอฟต์แวร์อันตราย
ซึ่งอาจแอบแฝงอยู่ภายในเครื่องของคุณ ซอฟต์แวร์ป้องกันไวรัสจะยับยั้งการแพร่เชื้อ
ลบไวรัสออกจากฮาร์ดดิสก์ และปกป้องพีซีของคุณจากการติดเชื้อต่าง ๆ แต่เมื่อมีข้อดีก็มีข้อเสีย
โดยคุณต้องเลือกระหว่างถูกซอฟต์แวร์ป้องกันไวรัสรบกวน กับการทำให้เครื่องพีซีของคุณตกอยู่ในภาวะอันตราย
โปรแกรมป้องกันไวรัสจะทำงานอยู่และบอกประเภทไวรัส
ด้วยการคอยดูคุณสมบัติตามรูปแบบหรือกิจกรรมในระบบที่น่าสงสัย เช่น การเข้าใช้ดิสก์ที่ผิดปกติ หรือแฟ้ม
.EXE มีการเปลี่ยนแปลงไปจากปกติ โปรแกรมนี้จะรู้ว่าพบไวรัสได้จากการเปรียบเทียบข้อมูลของระบบ
กับข้อมูลของไวรัสที่โปรแกรมรู้จักและเก็บไว้บนดิสก์ วิธีการเยียวยาไวรัสที่มักจะทำกันคือ
ลบแฟ้มที่ติดไวรัสทั้งไป และนำแฟ้มที่เก็บสำรองไว้ก่อนหน้านี้กลับมาใช้แทน

สิ่งที่คุณควรระวังหลายประการ เพื่อให้ลดโอกาสเสี่ยงต่อการยุ่งเกี่ยวกับไวรัส มีดังต่อไปนี้

- เก็บสำรองข้อมูลจากฮาร์ดดิสก์เป็นประจำ

- อย่าติดตั้งซอฟต์แวร์ที่คุณไม่รู้ว่าเป็นซอฟต์แวร์อะไรและมาจากไหน

- ควรโอนย้ายแฟ้มจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งผ่านเครือข่าย ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
หรือต่อโมเด็มโดยตรงแทนการใช้ฟลอปปีดิสก์ ไวรัสที่อันตราย มักอยู่ที่บูตแซกเตอร์บนฟลอปปีดิสก์

- จัดให้มีการป้องกันการเขียนทับข้อมูลบนดิสก์ทันทีเมื่อใช้งานเสร็จ

any key
ปุ่มใด ๆ บนแป้นพิมพ์ โดยมากมักจะเป็นกลุ่ม Enter หรือแคร่ยาว (Spacebar) โปรแกรมเมอร์มักใช้คำว่า “ปุ่มใด ๆ any key” เพื่อให้คุณทำงานได้ง่ายเข้า

app
ย่อมาจาก application, คำนี้มักใช้กับโปรแกรม เช่น App program บางครั้งอาจใช้ appl program (ดูที่application)

application
ใช้คำย่อว่า app, ระบบงาน, โปรแกรมซึ่งทำหน้าที่ช่วยผู้ใช้งานเพื่อจุดประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง,
คำนี้มักนำมาประกอบกับคำว่า application เป็นคำใหม่ คือ application program หรือนิยมเรียกว่าโปรแกรมประยุกต์ หรือเป็นชื่ออีกชื่อหนึ่งของโปรแกรมที่มักจะออกแบบเฉพาะงานได้แก่ เวิร์ดโปรเซสเซอร์สเปรดชีตฐานข้อมูล

คำว่า “ ระบบงาน ” หมายถึง สิ่งที่ทำให้งานเสร็จหรือเป็นไปตามเป้าหมาย
ขณะที่บางคนรู้สึกกับคำว่าโปรแกรมเหมือนกับงานที่เกี่ยวข้องกับหุ่นยนต์
โดยทั่วไปโปรแกรมระบบงานจะแตกต่างจากซอฟต์แวร์ระบบ ตัวอย่างชองซอฟต์แวร์ระบบ ได้แก่
ระบบปฏิบัติการที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ หรือโปรแกรมที่นำแฟ้มที่ลบไปแล้วกลับมาใช้งาน
และภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ใช้เพื่อสร้างระบบงานใหม่

AMR (Adaptive Multi Rate)
ไฟล์เสียงในมาตรฐานใหม่ที่ได้รับการยอมรับในการนำไปใช้ในอุตสาหกรรมสื่อสารไร้สายยุคใหม่
ส่วนมากเราจะเห็นไฟล์เสียงแบบ AMR ในโทรศัพท์มือถือที่รองรับบริการ MMS อยู่ในเครื่อง เพราะไฟล์เสียงแบบAMR นั้นเป็นหนึ่งในฟอร์แมทไฟล์เสียงที่ใช้กับ MMS
หรือเป็นเสียงที่เราบันทึกเองจากโทรศัพท์โดยจะถูกจัดเก็บเป็นไฟล์ฟอร์แมต .amr

array
อาร์เรย์, แถวลำดับ, ชุดข้อมูลชนิดเดียวกัน (ตัวเลข, ตัวหนังสือ, หรือ สตริง อย่างใดอย่างหนึ่ง)
ค่าหลายๆ ค่าเก็บในตัวแปรเดียวกัน และ หมายเลขประจำตำแหน่งในอาร์เรย์อ้างถึงค่าต่างๆ
แต่การกำหนดตัวแปรอาจต่างกันไปตามภาษาที่ใช้งาน

attach
การแนบแฟ้มไปกับจดหมายอิเล็กทรอนิกส์

attached file
แฟ้มที่แนบไปกับจดหมายอิเล็กทรอนิกส์

audio
อุปกรณ์ผสมเสียงหรือสร้างเสียงในระบบงานแบบหลายสื่อ เสียงจะสร้างขึ้นมาได้หลายวิธี ได้แก่ 

CD-D-AWaveform audio หรือ MIDI audio 

- CD-DA คือ CD-digital มีรูปแบบและคุณภาพเช่นเดียวกับเครื่องเล่นซีดีตามบ้าน คอมพิวเตอร์จะส่งคำสั่ง
เช่น เล่น เริ่มเล่น หยุดชั่วคราว หรือหยุด ให้แก่ตัวเล่นซีดี ลำโพงจะเสียบโดยตรงเข้าไปยังตัวเล่นซีดี

- Waveform audio ให้คุณบรรทุกหรือเล่นเสียงซ้ำบนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่มีระบบหลายสื่ออยู่ด้วย
เสียงแบบแอนะล็อกจะสุ่มจากไมโครโฟนผ่านทางตัวแปลงสัญญาณแอนะล็อกเป็นดิจิตอลที่อยู่บนแผ่นวงจรออดิโอ
ความชัดเจนของเสียงขึ้นอยู่กับขนาดของการสุ่มและอัตราและมีอัตราการสุ่ม แฟ้ม Waveform audio จะสุ่มทีละ
8 บิต หรือ 16 บิตก็ได้ และมีอัตราสุ่มที่ 11.025, 22.05 หรือ 44.1 เมกะเฮิรตซ์ และยังเป็นสเตอริโอ
หรือโมโนก็ได้

ข้อมูลดิจิตอลที่นำมาเล่นซ้ำจะมีการนำมาแปลงเป็นเสียง
ด้วยวงจรแปลงดิจิตอลเป็นแอนะล็อกที่อยู่บนแผ่นวงจรออดิโอ และจะส่งผ่านทางลำโพง Waveform audio
จะใช้เพื่อบันทึกเสียงทั่วไป ไปรษณีย์รับฝากเสียง ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ และการบรรยายข้อความ แฟ้ม
Waveform audio มีนามสกุล .WAV

- MIDI audio ไม่ได้สร้างเสียงด้วยตัวเอง แต่จะควบคุมการรับและส่งจาก MIDI
ไปยังเครื่องสังเคราะห์เสียงและเครื่องดนตรีอื่น ๆ

ออดิโอครอบคลุมช่วงความถี่ที่หูมนุษย์ได้ยินจาก 15 เฮิรตซ์ไปจนถึงประมาณ 20,000 เฮิรตซ์

authentication
การตรวจสอบเพื่อยืนยันสิ่งที่ส่ง

auto answer
คุณสมบัติของโมเด็มที่สามารถทำหน้าที่รับโทรศัพท์และสร้างการเชื่อมต่อกับผู้เรียกต้นทา

auto dial
คุณสมบัติของโมเด็มที่สามารถทำหน้าที่เปิดสายโทรศัพท์และหมุนหมายเลขเพื่อขอเชื่อกับปลายทางได้เองโดยอัตโ
นมัติ 


BROSWER
โปรแกรมสำหรับใช้เล่น internet เวิลด์ ไวด์ เว็บ (www) ได้แก่ Internter Explorer, Netscape, Opera

CLIENTS
คอมพิวเตอร์ลูกข่าย ที่เข้ามาขอใช้ข้อมูลจาก server ผ่านทางระบบเครือข่าย

COMPOSE
การแต่ง หรือเขียนจดหมาย Email

DIAL UP
การติดต่อกับคอมพิวเตอร์ หรือระบบเครือข่าย ผ่านทางสายโทรศัพท์

DNS
Domain Name Server การแปลงชื่อโฮตของเครือข่ายไปเป็นแอดเดรศ บนระบบเครือข่าย TCP/IP หรือในinternet

DOWNLOAD
การส่งผ่านข้อมูล เช่น ไฟล์ภาพไฟล์ภาพยนตร์ไฟล์เสียงเพลง จากคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น มายังเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา


DSL
Digital Subscriber Line อุปกรณ์ในการรับส่งข้อมูลความเร็วสูงอย่างหนึ่ง ผ่านทางสายโทรศัพท์ แต่เรายังคงใช้โทรศัพท์พร้อมกันได้ด้วย มีอีกชื่อหนึ่งที่ใช้เรียกกันคือADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line)

EISA
การเชื่อมต่อหรือ อินเตอร์เฟส แบบมาตราฐานของการ์ดต่าง ๆ ปัจจุบันล้าสมัยแล้ว

EMAIL
Electronic Mail จดหมายอิเลคทรอนิกส์ ใช้สำหรับการรับ-ส่งข้อมูลผ่านทางเครือข่าย

ETHERNET
มาตราฐานของสายเคเบิล และการเดินสาย โดยมีความสัมพันธ์กับระบบสื่อสารของเครือข่าย โดยมีหน่วยความเร็วเป็น 10 mbps , 100 mbps เป็นต้น

FIREWALL
แปลตรงตัวคือ กำแพงไฟ เป็นได้ทั้งซอร์ฟแวร์และฮาร์ดแวร์ สำหรับป้องกันการบุกรุกจากบุคคลภายนอกเข้ามาในระบบคอมพิวเตอร์ของเรา

FTP
File Transfer Protocal มาตราฐานการส่งผ่านข้อมูล จากระบบหนึ่งไปยังอีกระบบหนึ่งบน เครือข่าย TCP/IP

GATEWAY
คอมพิวเตอร์ตัวกลางในการเคลื่อนย้ายข้อมูลจากเครือข่ายหนึ่ง ไปยังอีกเครือข่ายหนึ่ง

GUEST BOOK
สมุดลงนาม ใช้สำหรับแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ web site นั้น ๆ ที่คุณเข้าไปเยี่ยมชม เป็นช่องทางแสดงความคิดเห็นอย่างหนึ่ง

HOME PAGE
เอกสารหน้าแรก (หน้าแนะนำตัว) ของ เวิลด์ ไวด์ เว็บ ของ web site ต่างๆ

HOST
คอมพิวเตอร์หลัก ที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูล เช่น Host ของ web site ต่างๆ

HTML
Hypertext Makrup Language ภาษาพื้นฐานสำหรับการสร้าง web ถือได้ว่าเป็นภาษาสากลสำหรับ web page

INTERNET
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ระดับโลก

ISDN
Integrated Service Digital Network มาตราฐานการติดต่อความเร็วสูงอย่างหนึ่ง เพื่อใช้ส่งสัญญาณเสียง วีดีโอ ทางสายดิจิตอล

ISP
Internet Service Provider บริษัทที่ให้บริการอินเตอร์เน็ต ได้แก่ KSC, CS-Loxinfo, Internet Thailand เป็นต้น

JAVASCRIP, JAVA APPLET
เป็นภาษาหนึ่งที่ใช้สำหรับการสร้างและตกแต่งเอกสารบน เวิลด์ ไวล์ เว็บ

LAN
Local Area Network ระบบเครือข่าย สำหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูล และทรัพยากรอื่น ๆ ได้ในพื้นที่จำกัด

LOG IN
ขั้นตอนการขออนุญาต เข้าระบบ ปกติจะมี ID และ Password เป็นตัวควบคุม
MODEM
Modulator/Demodulator อุปกรณ์สำหรับเชื่อมคอมพิวเตอร์ผ่านทางสายโทรศัพท์ ทำให้สามารถรับส่งข้อมูลทางกันได้

NEWSGROUPS
กลุ่มสนทนาทางเครือข่าย หรือทางอินเตอร์เน็ต

PCI
Peripheral Component Intercnnect มาตราฐานการเชื่อม หรือ อินเตอร์เฟส แบบใหม่ที่ให้ความเร็วสูงกว่า ISA แล EISA

POP SERVER
Post Office Protocol คือ เซอร์เวอร์ที่ใช้ในการรับส่ง Email

PROTOCOL
มาตราฐานที่ใช้ร่วมกัน ในการติดต่อกับระบบคอมพิวเตอร์ด้วยกัน

PROXY SERVER
เซอร์เวอร์หรือโฮสต์ ใช้สำหรับเพิ่มความเร็วในการเล่นเน็ต โดยเก็บข้อมูลใน proxy server ทำให้ผู้ใช้รายอื่นๆ ไม่จำเป็นต้องไปค้นหาข้อมูลในต่างประเทศอีก

ROUTER
อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง ทำหน้าที่แปลง package ของเครือข่ายหนึ่งให้เครือข่ายอื่นๆ เข้าใจได้

SCSI
Small Computer System Interface การเชื่อมต่ออุปกรณ์ เพื่อรับ-ส่ง ข้อมูลถึงกัน

SEARCH ENGINE
เครื่องมือช่วยในการค้นหา web site ต่างๆ บน internet

SERVER
คอมพิวเตอร์แม่ข่าย ที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการเก็บข้อมูล

SPAM MAIL
Email ที่ถูกส่งมายังผู้รับ โดยผู้รับไม่ได้ยินยอม โดยมีลักษณะคือส่งมาบ่อย ๆ และมักเป็นเรื่องเกี่ยวกับการขายสินค้าและบริการ

TCP/IP
Transmission Control Protocol/Internet Protocal เป็นมาตราฐานอย่างหนึ่งในการสื่อสาร ทางด้าานอินเตอร์เน็ต

TELNET
เครื่องมือในการติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกล

TOKEN RING
มาตรฐานการเชื่อต่อเคเบิล อย่างหนึ่งในระบบเครือข่าย

UPLOAD
วิธีการส่งข้อมูลไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ

URL
Unique Resource Locator ชื่อของคอมพิวเตอร์ ใช้เพื่อระบุตำแหน่งของเอกสารบน เวิลด์ ไวด์ เว็บ

WAN
Wide Area Network ระบบเครือข่ายขนาดใหญ่กว่า LAN สามารถติดต่อไปยังเครือข่ายภายนอกได้ทั่วโลก

WEBMASTER
ชื่อตำแหน่งของผู้ที่สร้าง ดูแล จัดการ web ทั้งนี้อาจหมายถึงเข้าของ web ก็ได้

WORLD WIDE WEB
WWW หรือ Web ระบบที่อนุญาตให้ผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ต สามารถค้นหาข้อมูลภายใน web


1.3  คำศัพท์เกี่ยวกับเทคโนโลยีต่าง  ๆ หรือ อื่น ๆ (เช่น  Alphanumeric Characters , CCD )

ใบงานที่ 2


1. หาคำศัพธ์คอมพิวเตอร์ 

แบ่งออกเป็นหัวข้อดังนี้

1.1  คำศัพท์เฉพาะคอมพิวเตอร์(เช่น LCD , CPU ฯลฯ)

A
หมายถึง : ในระบบการทำงานของ MS-DOS และ ของ OS/2 เป็น ช่องดิสก์ไดร้ว์ช่องแรก และใช้เป็นช่องดิกส์ไดร้ว์ สำหรับตรวจการเริ่มต้นคำสั่งการทำงานเป็นครั้งแรก 

abort
หมายถึง : การไม่ทำงานของเครื่องโดยมีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้น 

AC
หมายถึง : 
กระแสไฟฟ้าสลับ เป็นอักษรย่อของคำเต็มว่า alternating current 

access
หมายถึง : 
เข้าถึง, บอกตำแหน่ง, การอ่านหน่วยความจำ,และทำให้พร้อมที่จะนำมาใช้งาน คำว่า access ใช้กับการเข้าสู่แผ่นดิสก์, แฟ้มข้อมูล, ระเบียนและเครือข่ายต่างๆ 

active
หมายถึง : 
เป็นคำ adjective ขยายโปรแกรม , เอกสาร, เครื่องมือต่างๆ หรือส่วนของหน้าจอภาพที่กำลังปฏิบัติงานอยู่ หมายถึงโปรแกรมที่กำลังทำงานอยู่ เอกสารที่กำลังใช้อยู่ หรือเครื่องมือที่กำลังถูกใช้งาน เป็นต้น 

C++
หมายถึง : 
ภาษา C programming language รุ่นใหม่ ซึ่งพัฒนาขึ้นมาโดย Bjarne Strousrup ณ ห้องปฏิบัติการ Bell Laboratories เมื่อต้นปี พ.ศ. 2523 ภาษา C เวอร์ชั่นนี้เป็นที่ยอมรับของนักผลิตโปรแกรมทั้งหลาย เช่น บริษัท Apple Computer และบริษัท Sun Microsystem เป็นต้น 

CAD/CAM
หมายถึง : 
(อ่านว่า แคด/แคม) เป็นคำย่อของคำว่า computer-aided-design/computer-aided-manufacturing หมายถึงการใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ เป็นอุตสาหกรรม เราสามารถใช้ CAD/CAM ผลิตชิ้นส่วนของเครื่องจักร เครื่องยนต์ เป็นต้น 

IEEE
หมายถึง : อ่านว่า ไอทริเพิ่ลอี เป็นคำย่อของคำว่า Institute of Electrical and Electronics Engineers เป็นองค์กรวิชาชีพวิศวกรรมและอีเล็กทรอนิกองค์กรหนึ่ง ซึ่งมีชื่อเสียงในด้านการพัฒนาระดับการเชื่อมโยงข้อมูลในเครือข่าย LAN มาตรฐานที่เรียกว่า IEEE 802 ต่อจากการพัฒนาแบบของ ISO Operating system Interconnection 

ฯลฯ ( เยอะมากกก !!! )

1.2  คำศัพท์ด้านอินเตอร์เน็ต( HTTP , HTTPS ฯลฯ)

ADDRESS
แปลตรงตัวหมายถึงที่อยู่ อาจหมายถึงที่อยู่บนอินเตอร์เน็ต หรือ ที่อยู่ของอีเมล์

alphanumeric characters
ตัวอักขระทั้งหมดที่เป็นได้ทั้งตัวอักษร (a, b, c,…) ตัวเลข (1, 2, 3,...) สัญลักษณ์พิเศษ ช่องว่าง และเครื่องหมายวรรคตอนต่าง ๆ ( #, 4,…)
analog display
ความสามารถของจอแสดงผลที่กระจายสีเป็นช่วงต่อเนื่องตามระดับความเข้มของสีเทาหรือสีทั่วไปต่างจากการแสดงผลแบบดิจิตอล ซึ่งจะกระจายสีได้ในขอบเขตจำกัดทั้งสีเทาหรือสีทั่วไปจอ VGA แสดงผลแบบแอนะล็อก ขณะที่จอ EGA แสดงผลเป็นดิจิตอล
analog-to-digital converter
ใช้คำย่อว่า ADC หรือ A-D converter, อุปกรณ์แปลงสัญญาณแอนะล็อกเป็นดิจิตอล เมื่อสัญญาณแอนะล็อกแปลงเป็นดิจิตอลแล้วจึงส่งมาให้คอมพิวเตอร์ประมวลผล วิเคราะห์ แสดงผล และส่งข้อมูลได้ประเด็นสำคัญของตัวแปลงแอนะล็อกเป็นดิจิตอล คือปริมาณข้อมูลดิจิตอลที่ได้มาจากสัญญาณแอนะล็อก ความถูกต้องของการแปลงสัญญาณนี้ขึ้นกับความถี่ในการสุ่มจับข้อมูลแอนะล็อกแต่ละครั้งและข้อมูลที่เก็บบันทึกไว้แผ่นวงจรเสียงที่ทันสมัยสามารถสุ่มจับข้อมูลและเล่นย้อนกลับได้ที่ความถี่ 44.1 กิโลเฮิรตซ์ โดยใช้ตัวแปลงแอนะล็อกเป็นดิจิตอลขนาด 16 บิต
animation
การใช้คอมพิวเตอร์สร้างภาพเคลื่อนไหวตามภาพที่วาดหรือสร้างไว้การทำให้ภาพเคลื่อนไหวได้ด้วยการแสดงผลภาพชุดหนึ่งที่เร็วมาก ๆจนเรามองเป็นภาพต่อเนื่อง ซึ่งแต่ละภาพจะมีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยแอนิเมชันนี่เองที่เป็นองค์ประกอบสำคัญในเรื่องระบบงานแบบหลายสื่อรวมไปถึงเกมในคอมพิวเตอร์ด้วย เทคนิคที่ใช้ก็คล้ายกับการสร้างภาพยนตร์การ์ตูน
any key
ปุ่มใด ๆบนแป้นพิมพ์ โดยมากมักจะเป็นกลุ่ม Enter หรือแคร่ยาว (Spacebar) โปรแกรมเมอร์มักใช้คำว่า “ ปุ่มใด ๆ any key” เพื่อให้คุณทำงานได้ง่ายเข้า
AMR (Adaptive Multi Rate)
ไฟล์เสียงในมาตรฐานใหม่ที่ได้รับการยอมรับในการนำไปใช้ในอุตสาหกรรมสื่อสารไร้สายยุคใหม่ส่วนมากเราจะเห็นไฟล์เสียงแบบ AMR ในโทรศัพท์มือถือที่รองรับบริการ MMS อยู่ในเครื่อง เพราะไฟล์เสียงแบบ AMR นั้นเป็นหนึ่งในฟอร์แมทไฟล์เสียงที่ใช้กับ MMS หรือเป็นเสียงที่เราบันทึกเองจากโทรศัพท์โดยจะถูกจัดเก็บเป็นไฟล์ฟอร์แมต .amr

AUTHORING TOOL
เครื่องมือใช้ในการสร้างเอกสารจำพวก HTML เพื่อใช้สำหรับเผยแพร่ใน www

BACKBONE
การเชื่อมต่อข้อมูลด้วยความเร็วสูง สามารถเชื่อมต่อกับหลาย ๆ เครือข่าย

BRIDGE
เป็นอุปกรณ์ตัวหนึ่ง ที่ใช้สำหรับส่งต่อข้อมูลระหว่างสองระบบ หรือเครือข่าย ทำหน้าที่ส่งผ่าน package เท่านั้น

BROSWER
โปรแกรมสำหรับใช้เล่น internet เวิลด์ ไวด์ เว็บ (www) ได้แก่ Internter Explorer, Netscape, Opera

CLIENTS
คอมพิวเตอร์ลูกข่าย ที่เข้ามาขอใช้ข้อมูลจาก server ผ่านทางระบบเครือข่าย

COMPOSE
การแต่ง หรือเขียนจดหมาย Email

DIAL UP
การติดต่อกับคอมพิวเตอร์ หรือระบบเครือข่าย ผ่านทางสายโทรศัพท์

DNS
Domain Name Server การแปลงชื่อโฮตของเครือข่ายไปเป็นแอดเดรศ บนระบบเครือข่าย TCP/IP หรือในinternet

DOWNLOAD
การส่งผ่านข้อมูล เช่น ไฟล์ภาพไฟล์ภาพยนตร์ไฟล์เสียงเพลง จากคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น มายังเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา

ฯลฯ (เยอะมากๆๆ !!)

1.3  คำศัพท์เกี่ยวกับเทคโนโลยีต่าง  ๆ หรือ อื่น ๆ (เช่น  Alphanumeric Characters , CCD ,ฯลฯ)
                 


แบบทดสอบหลังเรียน


1. บิดาคอมพิวเตอร์คือใครและจงบอกผลงานที่ทำให้ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของคอมพิวเตอร์


ตอบ  บิดาคอมพิวเตอร์ คือ ชาลส์ แบบเบจ (Charles Babbage)  
ผลงานที่ทำให้ ชาลส์ แบบเบจ ได้ัรับการยกย่องเป็นบิดาแห่งคอมพิวเตอร์ คือ Analytical Engine


2.จงเรียงลำดับเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับประวัติคอมพิวเตอร์ต่อไปนี้ จากแรกสุดไปหลังสุด
2 ) Slide Rule                                            6 ) UNIVAC
1 ) Abacus                                                  5 MARK I  
3 )
Difference Engine                              4 ) ABC Computer
  

3.จงอธิบายที่มาของเครื่องคำนวณเครื่องแรกที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์
    ถูกผลิตขึ้นโดย หลอดสุญญากาศ (มีแค่เนี่ย)

4. โปรแกรมเมอร์คนแรกคือใคร 
ตอบ  Augusta Lovelace Ada

5. คอมพิวเตอร์เครี่องแรกที่สามารถเก็บโปรแกรมไว้ในเครื่องได้คือ 
ตอบ คอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่สามารถเก็บข้อมูลได้ Z1 Computer


6. เครื่องประดิษฐ์ที่ชื่อว่า Difference Engine สร้างขึ้นมาเพื่อใช้ประโยชน์อะไร 
 ตอบ เพื่อใช้ในการจัดเก็บตัวเลข


7. เครื่องคอมพิวเตอร์ใดที่เป็นต้นแบบของคอมพิวเตอร์ปัจจุบัน
ตอบ โปรเซสเซอร์ ระบบปฏิบัติการ ภาษาแอสแซมบลี ฮาร์ดดิสก์ จอแสดงสี และ เครื่องพิมพ์




Dos


รายละเอียดโปรแกรม  DOS

ระบบปฏิบัติการในรูปแบบของตัวอักษร (Text Mode) ถึงแม้ว่าปัจจุบันระบบคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะใช้ Windows (ระบบรูปภาพ หรือ Graphics Mode) แต่อย่างไรก็ตาม การเรียนการใช้งาน DOS ก็ยังถือว่ามีส่วนสำคัญไม่น้อย ตัวอย่างเช่น การติดตั้ง Windows การแบ่ง harddisk แต่ละ drive (Partition Harddisk) อาจจำเป็นต้องมีการ boot เข้าระบบดอสก่อน และเช่นเดียวกับบางบริษัทที่มีใช้งานในระบบเครือข่าย Novell Netware ก็ยังจำเป็นต้องทำงานใรระบบ DOS เช่นกัน
ชื่อ DOS บางท่านอาจเคยเห็นชื่อที่เป็น MS-DOS นั่นหมายถึง Microsoft Disk Operating System (บริษัทไมโครซอร์ฟเป็นผู้ผลิต)
ความยาวของชื่อ-นามสกุล ไฟล์
ความแตกต่างที่เห็นในชัดของชื่อไฟล์ในระบบ DOS กับ Windows คือ ความยาวของชื่อไฟล์ Windows สามารถตั้งชื่อให้ยาวได้มากถึง 255 ตัวอักษร ส่วนในระบบ DOS ชื่อและนามสกุลของไฟล์จะถูกจำกัดได้เพียง
ชื่อยาวไม่เกิน 8 ตัวอักษร นามสกุลยาวไม่เกิน 3 ตัวอักษร
ตัวอย่าง Readme.TXT (ชื่อไฟล์ Readme หลังจุดคือนามสกุล TXT)
คำสั่งระบบ DOS พื้นฐาน
  1. DIR (Directory) - คำสั่งในการแสดงรายชื่อไฟล์ รายชื่อไดเรกทอรี่ (Folder ใน windows ปัจจุบัน)

    ตัวอย่างการใช้งาน (รวมคำสั่งย่อย ๆ)
    Dir - แสดงรายชื่อไฟล์ ไดเรกทอรี่ทั้งหมด พร้อมทั้งขนาดไฟล์ + วันเวลาอัปเดทล่าสุด
    Dir /p - แสดงรายชื่อไฟล์ ไดเรกทอรี่ในแนวนอน ให้หยุดแสดงทีละหน้า (กรณีที่มีจำนวนไฟล์ยาวมากกว่า 1 หน้าจอ)
    Dir /w - แสดงรายชื่อไฟล์ ไดเรกทอรี่ในแนวนอน
    Dir /s, - แสดงรายชื่อไฟล์ ไดเรกทอรี่ และไฟล์ที่อยู่ในไดเรกทอรี่ย่อยด้วย
    Dir /od - แสดงรายชื่อไฟล์ ให้เรียงตามวันที่อัปเดท Dir /n - แสดงรายชื่อไฟล์ ให้เรียงตามชื่อ
  2. CLS (Clear Screen) - คำสั่งสำหรับลบหน้าจอออก
  3. DEL (Delete) - คำสั่งในการลบชื่อไฟล์ที่ต้องการ เช่น DEL readme.txt หมายถึงให้ลบชื่อไฟล์ README.TXT

    ตัวอย่างการใช้งาน (รวมคำสั่งย่อย ๆ)
    Del readme.txt - ลบไฟล์ชื่อ readme.txt
    Del *.* - ให้ลบไฟล์ทั้งหมดที่อยู่ในไดเรกทอรี่ปัจจุบัน
    Del *. - ให้ลบไฟล์ทั้งหมดที่อยู่ในไดเรกทอรี่ปัจจุบัน เฉพาะไฟล์ที่ไม่มีนามสกุล
  4. MD (Make Directory) - คำสั่งในการสร้างไดเรกทอรี่ เช่น MD Photo จะได้ไดเรกทอรี่ C:Photo
  5. CD (Change Directory) - คำสั่งในการเข้าไปในไดเรกทอรี่ (CD คือคำสั่งในการออกจากห้องไดเรกทอรี่)
  6. RD (Remove Directory) - คำสั่งในการลบไดเรกทอรี่ เช่น RD Photo (เราจะต้องอยู่นอกห้องไดเรอทอรี่ Photo)
  7. REN (Rename) - คำสั่งในการเปลี่ยนชื่อชือ เช่น REN readme.txt read.me หมายถึงการเปลี่ยนชื่อไฟล์เป็น READ.ME
ชนิดคำสั่ง DOS
คำสั่งของ DOS มีอยู่ 2 ชนิดคือ
1. คำสั่งภายใน (Internal Command) เป็นคำสั่งที่เรียกใช้ได้ทันทีตลอดเวลาที่เครื่องเปิดใช้งานอยู่ เพราะคำสั่งประเภทนี้ถูกบรรจุลงในหน่วยความจำหลัก (ROM) ตลอดเวลา หลังจากที่ Boot DOS ส่วนมากจะเป็นคำสั่งที่ใช้อยู่เสมอ เช่น CLS, DIR, COPY, REN เป็นต้น
2. คำสั่งภายนอก (External Command) คำสั่งนี้จะถูกเก็บไว้ในดิสก์หรือแผ่น DOS คำสั่งเหล่านี้จะไม่ถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำ เมื่อต้องการใช้คำสั่งเหล่านี้คอมพิวเตอร์จะเรียกคำสั่งเข้าสู๋หน่วยความจำ ถ้าแผ่นดิสก์หรือฮาร์ดดิสก์ไม่มีคำสั่งที่ต้องการใช้อยู่ก็ไม่สามารถเรียกคำสั่งนั้น ๆ ได้ ตัวอย่างเช่น คำสั่ง FORMAT, DISKCOPY, TREE, DELTREE เป็นต้น
รูปแบบและการใช้คำสั่งต่างๆ
ในการใช้คำสั่งต่าง ๆ ของ DOS จะมีการกำหนดอักษรหรือสัญญลักษณ์ ใช้แทนข้อความของรูปแบบคำสั่ง ดังนี้
[d:] หมายถึง Drive เช่น A:, B:
[path] หมายถึง ชื่อไดเรคเตอรี่ย่อย
[filename] หมายถึง ชื่อแฟ้มข้อมูล หรือ ชื่อไฟล์
[.ext] หมายถึง ส่วนขยาย หรือนามสกุล
หมายเหตุ : ข้อความที่อยู่ในวงเล็บ ([ ] ) ถ้าไม่มีก็ไม่ต้องใส่ในคำสั่ง
รูปแบบและการใช้คำสั่งภายใน (Internal Command)
คำสั่ง
หน้าที่
รูปแบบ
CLS (CLEAR SCREEN)
ลบข้อมูลบนจอภาพขณะนั้น
CLS
DATE
แก้ไข/ดูวันที่ให้กับ SYSTEM
DATE
TIME
แก้ไข/ดูเวลา ให้กับ SYSTEM
TIME
VER (VERSION)
ดูหมายเลข (version) ของดอส
VER
VOL (VOLUME)
แสดงชื่อของ DISKETTE
VOL [d:]
DIR (DIRECTORY)
ดูชื่อแฟ้มข้อมูล, เนื้อที่บนแผ่นดิสก์, ชื่อแผ่นดิกส์
DIR [d:] [path] [filename [.ext]] [/p] [/w]
  /p หมายถึง แสดงชื่อแฟ้มข้อมูลทีละ 1 หน้าจอภาพ ถ้าต้องการดูหน้าต่อไปให้กดแป้นใด ๆ
  /w หมายถึง แสดงชื่อแฟ้มข้อมูลตามความกว้างของจอภาพ
TYPE
แสดงเนื้อหาหรือข้อมูลในแฟ้มข้อมูลที่กำหนด
TYPE [d:] [path] [filename.[.ext]]
COPY
ใช้คัดลอกแฟ้มข้อมูลหนึ่ง หรือหลายแฟ้มข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลต้นทาง ไปยังแฟ้มข้อมูลปลายทาง อาจจะเป็นจากแผ่นดิสก์แผ่นหนึ่งหรือแผ่นดิสก์เดิมก็ได้
COPY [d:] [path] [filename[.ext]] [d:] [path] filename[.ext]]
REN (RENAME]
เปลี่ยนชื่อแฟ้มข้อมูล (ข้อมูลข้างในแแฟ้มข้อมูลยังเหมือนเดิม)
REN [d:] [path] [oldfilename[.ext]] [newfilename[.ext]]
DEL (DELETE)
ลบแฟ้มข้อมูลออกจากแฟ่นดิสก์
DEL [d:] [path] [filename[.ext]]
PROMPT COMMAND
เปลี่ยนรูปแบบตัวพร้อมรับคำสั่ง (system prompt) เป็นตัวใหม่ตามที่ต้องการ
PROMPT [prompt-text] or propt $p$
  $ หมายถึงตัวอักษร
  t หมายถึง เวลา
  d หมายถึง วัน เดือน ปี
  p หมายถึง เส้นทาง Directory ปัจจุบัน
  v หมายถึง DOS VERSION NUMBER
  g หมายถึง เครื่องหมาย >
  l หมายถึง เครื่องหมาย <
  q หมายถึง เครื่องหมาย =
MD (MAKE DIRECTORY)
สร้าง subdirectory (ห้องย่อย) เพื่อจัดเก็บแฟ้มข้อมูล
MD [d:] [path] [Dir_name]
CD (CHANGE DIRECTORY)
เป็นคำสั่งในการเปลี่ยนไปใช้งาน subdirectory ที่ต้องการ
CD [d:] [path] [Dir_name]
CD (การย้ายกลับมาสู่ ROOT DIRECTORY
CD.. (การย้ายกลับมาที่ DIRECTORY)
RD (REMOVE DIRECTORY)
ลบ subdirectory (ห้องย่อย) ที่สร้างด้วยคำสั่ง MD
RD [d:] [path] [Dir_name]

คำสั่งภายนอก(EXTERNAL COMMAND)
คำสั่งภายนอกมี 2 นามสกุล
1.นามสกุลเป็น .COM เป็น file ที่บรรจุข้อมูลที่ถูกแปลงเป็นภาษาเครื่องแล้ว
2.นามสกุลเป็น .EXE เป็น file ที่บรรจุข้อมูลที่เขียนโดยใช้ภาษาระดับสูงและแปลงเป็นภาษาเครื่องแล้ว
รูปแบบและการใช้คำสั่งภายใน (Internal Command)
คำสั่ง
หน้าที่
รูปแบบ
TREE
แสดงรายชื่อ directory ทั้งหมดในแผ่นดิสก์ ที่กำหนด
TREE [d:] [/f]
  /f หมายถึงรายชื่อแฟ้มข้อมูลในแต่ละ subdirectory ด้วย
SYS (SYSTEM)
เป็นคำสั่ง copy แฟ้มข้อมูลที่ใช้ในการเปิดเครื่องลงในแผ่นดิสก์หรือฮาร์ดดิสก์ ที่ไม่มีระบบ (เปิดเครื่องไม่ได้)
SYS [d:]
CHKDSK (CHECK DISK)
ตรวจสอบ directory หรือ file แสดงจำนวน memory ที่ใช้ไปและที่เหลืออยู่ รวมถึงเนื้อที่ บนแผ่นดิสก์ที่ใช้ไป และที่เหลืออยู่
CHKDSK [d:] [path] [filename[.ext]] [/f] [/v]
  /f หมายถึง การตรวจสอบเนื้อที่ที่เสียหาย
  /v หมายถึง ให้แสดง directory และ แฟ้มข้อมูลที่ซ่อนอยู่
LABEL
เพื่อกำหนดชื่อ (volume label), เปลี่ยนหรือลบ volume label บนดิสก์
LABEL [d:] [volume label]
FORMAT
กรณีที่ diskette ใหม่ จะเป็นการจัด track และ sector ของ diskette ใหม่ เพื่อให้เขียนข้อมูลได้
กรณีที่เป็น diskette ที่มีข้อมูลอยู่แล้วเมื่อใช้คำสั่งนี้ข้อมูลจะถูกล้างไปหมด พร้อมที่เขียนข้อมูลใหม่
FORMAT [d:] [/s] [/v]
  /s หมายถึง ทำการ format โดยทำการคัดลอก โปรแกรมระบบดอส (BIO.COM, OS.COM, COMMAND.COM)
 /v หมายถึง กำหนด volume label ให้ดิสก์
DISKCOPY (COPY DISKETTE)
เป็นคำสั่งที่ใช้ copy file ทั้งหมดจากแผ่นดิสก์จากแผ่นหนึ่งไปใส่อีกแผ่นหนึ่ง แต่ถ้าแผ่นดิสก์อีกแผ่น ยังไม่ได้ทำการ format ก็จะทำการ format ให้โดยอัตโนมัติ
DISKCOPY [d:] [d:]

ทดลองใช้คำสั่ง DOS ใน Windows
สำหรับผู้ใช้งาน Windows 95,98 สามารถทดสอบการใช้งานระบบ DOS ได้ มีวิธีเรียกใช้งานดังนี้
  1. คลิกปุ่ม Start เลือก คำสั่ง RUN พิมพ์คำว่า Command หรือ
  2. คลิกปุ่ม Start เลือกเมนู Program และเลือกโปรแกรม MS-DOS
  3. ต้องการให้หน้าจอแสดง DOS เต็มจอให้กดปุ่ม ALT พร้อมกับปุ่ม Enter
  4. และถ้าต้องการให้หน้าจอเล็กดังเดิม ก็ให้กดปุ่ม ALT พร้อมกับปุ่ม Enter เช่นเดียวกัน
  5. เลิกทดสอบและต้องการเข้าระบบ Windows ให้พิมพ์คำว่า EXIT

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น